หนังสือการประเมินโครงการฝึกอบรมเล่มนี้มีขนาด A5 (พ็อคเก็ต-บุ๊ค 14.5 x 21 ซม.) จำนวน 304 หน้า พิมพ์ครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม 2553
ผู้เหมาะสมที่จะใช้หนังสือเล่มนี้ คือ ผู้ประเมินที่มีเวลาน้อย ต้องการทำความเข้าใจอย่างรวดเร็ว เป็นทางลัดในการเร่งประเมินโครงการฝึกอบรม
เนื้อหาสำคัญประกอบด้วย การประเมินโครงการฝึกอบรมด้วยรูปแบบการประเมินที่นิยมกันมาก 6 รูปแบบ และการประเมินโดยไม่ใช้รูปแบบการประเมิน โดยเสนอขั้นตอนและยกตัวอย่างการประเมินโครงการฝึกอบรมอย่างละเอียด ซึ่งมีเนื้อหา 10 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนำสู่การประเมินโครงการ ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
1.1 โครงการฝึกอบรม
1.2 การเลือกโครงการฝึกอบรมเพื่อนำมาประเมิน
1.3 แนวทางการประเมินโครงการฝึกอบรม
1.4 ค่าใช้จ่ายในการประเมินโครงการฝึกอบรม
1.5 รูปแบบการประเมินโครงการฝึกอบรม
1.6 ขั้นตอนการประเมินโครงการฝึกอบรม
1.7 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 2 การเลือกใช้รูปแบบประเมินโครงการฝึกอบรม ประกอบ ด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
2.1 รูปแบบที่ใช้ในการประเมินโครงการฝึกอบรม
2.2 ประเภทของรูปแบบการประเมินโครงการฝึกอบรม
2.3 การเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างระหว่าง
2.4 รูปแบบการประเมิน
2.5 แนวทางการเลือกใช้รูปแบบการประเมิน
2.6 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 3 กรอบแนวคิดการประเมิน ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
3.1 ลักษณะและโครงสร้างของกรอบแนวคิดการประเมิน
3.2 ประเด็นการประเมิน
3.3 ตัวชี้วัด
3.4 เกณฑ์
3.5 แหล่งข้อมูล
3.6 เครื่องมือเก็บข้อมูล
3.7 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.8 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบการประเมิน ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
4.1 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบ CIPP
4.2 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบ CIRO
4.3 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบ IPOO
4.4 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบ Training
4.5 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบ Parker
4.6 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบ Bell
4.7 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 5 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโครงการโดยไม่ใช้รูปแบบการประเมิน ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
5.1 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโดยยึดวัตถุประสงค์โครงการ
5.2 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโดยยึดวัตถุประสงค์โครงการ และความพึงพอใจ
5.3 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโดยยึดวัตถุประสงค์โครงการ ความพึงพอใจ และความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน
5.4 การกำหนดกรอบแนวคิดการประเมินโดยยึดวัตถุประสงค์โครงการ ความพึงพอใจ และความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน รวมทั้งผู้เกี่ยวข้อง
5.5 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 6 การกำหนดเกณฑ์หลายระดับและค่าน้ำหนักในการประเมิน ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
6.1 การกำหนดเกณฑ์ประเมินหลายระดับ
6.2 การกำหนดเกณฑ์ประเมิน 3 ระดับ สำหรับตัวชี้วัด
6.3 การกำหนดเกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ สำหรับตัวชี้วัด
6.4 การกำหนดเกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ สำหรับประเด็นการประเมิน
6.5 การกำหนดเกณฑ์ประเมิน 5 ระดับ สำหรับภาพรวมของโครงการ
6.6 การกำหนดค่าน้ำหนักในการประเมิน
6.7 การกำหนดค่าน้ำหนักของโครงการ
6.8 การกำหนดค่าน้ำหนักของประเด็นการประเมิน
6.9 การกำหนดค่าน้ำหนักของตัวชี้วัด
6.10 การนำผลการวัดมาคิดค่าน้ำหนัก
6.11สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 7 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล
7.1 ประเภทของเครื่องมือเก็บข้อมูล
7.2 การเลือกใช้เครื่องมือให้สอดคล้องกับพฤติกรรมที่จะเก็บข้อมูล
7.3 พฤติกรรมที่จะเก็บข้อมูล
7.4 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือให้มีคุณภาพ
7.5 คุณภาพของเครื่องมือเก็บข้อมูล
7.6 สถิติที่นิยมใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ
7.7 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 8 การสร้างและพัฒนาแบบสอบ แบบสอบถาม ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
8.1 การสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดเลือกตอบ
8.2 การสร้างแบบสอบชนิดเลือกตอบ
8.3 การพัฒนาแบบสอบชนิดเลือกตอบ
8.4 การสร้างและพัฒนาแบบสอบอัตนัย
8.5 การสร้างแบบสอบอัตนัย
8.6 การพัฒนาแบบสอบอัตนัย
8.7 การสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม
8.8 การสร้างแบบสอบถาม
8.9 การพัฒนาแบบสอบถาม
8.10 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 9 การสร้างและพัฒนาแบบสังเกต แบบวัดทักษะปฏิบัติแบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
9.1 การสร้างและพัฒนาแบบสังเกต
9.2 การสร้างและพัฒนาแบบวัดทักษะปฏิบัติ
9.3 การสร้างและพัฒนาแบบสัมภาษณ์
9.4 สรุปเนื้อหาในบท
บทที่ 10 การเขียนรายงานประเมินโครงการ ประกอบด้วย เนื้อหาเกี่ยวกับ
10.1 โครงสร้างของรายงานประเมินโครงการ
10.2 การเขียนบทที่ 1 บทนำ
10.3 การเขียนบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
10.4 การเขียนบทที่ 3 วิธีดำเนินการประเมิน
10.5 การเขียนบทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
10.6 การเขียนบทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
10.7 สรุปเนื้อหาในบท